คณะอนุกรรมการด้านเภสัชศาสตร์ศึกษา (2562) คำสั่งแต่งตั้งอนุกรรมการเภสัชศาสตรศึกษา.pdf
1 คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ปรึกษา
2 ผศ.ภก.ดร.อนุชัย ธีระเรืองไชยศรี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานอนุกรรมการ
3 รศ.ภญ.ดร.หทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) อนุกรรมการ
4 รศ.ภก.ดร.ศักดำ ดำดวง (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) อนุกรรมการ
5 รศ.ภญ.ดร.จุราพร พงศ์เวชรักษ์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) อนุกรรมการ
6 ผศ.ภก.อภิรักษ์ วงศ์รัตนชัย (มหาวิทยาลัยนเรศวร) อนุกรรมการ
7 ผศ.ภก.ดร.กัมปนาท หวลบุตตา (มหาวิทยาลัยบูรพา) อนุกรรมการ
8 อ.ภญ.ดร.นทพร ชัยพิชิต (มหาวิทยาลัยพะเยา) อนุกรรมการ
9 อ.ภก.อัครพล หงษ์กิตติยานนท์ (มหาวิทยาลัยพายัพ) อนุกรรมการ
10 ผศ.ภก.ดร.สุรศักดิ์ ไชยสงค์ (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) อนุกรรมการ
11 ผศ.ภญ.ดร.สมหญิง พุ่มทอง (มหาวิทยาลัยมหิดล) อนุกรรมการ
12 ผศ.ภญ.ดร.สุชาดา จงรุ่งเรืองโชค (มหาวิทยาลัยรังสิต) อนุกรรมการ
13 อ.ภญ.ศิราณี ยงประเดิม (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) อนุกรรมการ
14 ผศ.ภญ.ดร.ศุจิมน ตันวิเชียร (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) อนุกรรมการ
15 ผศ.ภญ.ดร.ณัฎฐิญา ค้าผล (มหาวิทยาลัยศิลปากร) อนุกรรมการ
16 ผศ.ภญ.ดร.ลือลักษณ์ ล้อมลิ้ม (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) อนุกรรมการ
17 อ.ภญ.ดร.รักษ์จินดา วัฒนาลัย (มหาวิทยาลัยสยาม) อนุกรรมการ
18 รศ.ภญ.ดร.รัตนำ อินทรำนุปกรณ์ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ) อนุกรรมการ
19 อ.ภญ.ดร.ธนาทิพย์ ธรรมาเจริญสุข (มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย) อนุกรรมการ
20 อ.ภญ.ดร.อุไรวรรณ อกนิตย์ (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) อนุกรรมการ
21 อ.ภญ.ดร.สุนทรี วัชรดํารงกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) อนุกรรมการและเลขานุการ
ทั้งนี้ ให้มีบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของอนุกรรมการด้านเภสัชศาสตรศึกษา ดังนี้
1. จัดการความรู้ (Knowledge Management, KM) โดยการรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพ (อดีต ปัจจุบัน อนาคต) ของพัฒนาการด้านหลักสูตรเภสัซศาสตรบัณฑิต และการจัดการด้านเภสัชศาสตร์ศึกษาของประเทศไทยอย่างเป็นระบบและสามารถสืบค้นอ้างอิงได้เพื่อประโยชน์ของสาธารณะ
2. เสนอนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาการจัดการด้านเภสัชศาสตร์ศึกษาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทความต้องการของสังคมไทย
3. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลกำลังคน (workforce) ด้านเภสัชกรรมในภาคส่วนต่างๆ ของสังคมไทย เพื่อใช้เป็นแนวทางในการคาดการณ์ความต้องการเชิงปริมาณและคุณภาพ สำหรับการผลิตเภสัชศาสตรบัณฑิตอย่างเหมาะสมในอนาคต
4. ประสานงานกับสถาบันสมาชิกของ ศ.ศ.ภ.ท. หรือองค์กรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดกิจกรรมเภสัชศาสตร์ศึกษาสำหรับการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการการเรียนการสอนเป็นระยะ ตามความเหมาะสม
5. รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินการของอนุกรรมการฯ ให้ คณะกรรมการอำนวยการ ศ.ศ.ภ.ท. ทราบอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
6. หน้าที่อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เมื่อได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการอำนวยการ ศ.ศ.ภ.ท.
1 คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ปรึกษา
2 ผศ.ภก.ดร.อนุชัย ธีระเรืองไชยศรี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานอนุกรรมการ
3 รศ.ภญ.ดร.หทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) อนุกรรมการ
4 รศ.ภก.ดร.ศักดำ ดำดวง (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) อนุกรรมการ
5 รศ.ภญ.ดร.จุราพร พงศ์เวชรักษ์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) อนุกรรมการ
6 ผศ.ภก.อภิรักษ์ วงศ์รัตนชัย (มหาวิทยาลัยนเรศวร) อนุกรรมการ
7 ผศ.ภก.ดร.กัมปนาท หวลบุตตา (มหาวิทยาลัยบูรพา) อนุกรรมการ
8 อ.ภญ.ดร.นทพร ชัยพิชิต (มหาวิทยาลัยพะเยา) อนุกรรมการ
9 อ.ภก.อัครพล หงษ์กิตติยานนท์ (มหาวิทยาลัยพายัพ) อนุกรรมการ
10 ผศ.ภก.ดร.สุรศักดิ์ ไชยสงค์ (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) อนุกรรมการ
11 ผศ.ภญ.ดร.สมหญิง พุ่มทอง (มหาวิทยาลัยมหิดล) อนุกรรมการ
12 ผศ.ภญ.ดร.สุชาดา จงรุ่งเรืองโชค (มหาวิทยาลัยรังสิต) อนุกรรมการ
13 อ.ภญ.ศิราณี ยงประเดิม (มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) อนุกรรมการ
14 ผศ.ภญ.ดร.ศุจิมน ตันวิเชียร (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) อนุกรรมการ
15 ผศ.ภญ.ดร.ณัฎฐิญา ค้าผล (มหาวิทยาลัยศิลปากร) อนุกรรมการ
16 ผศ.ภญ.ดร.ลือลักษณ์ ล้อมลิ้ม (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) อนุกรรมการ
17 อ.ภญ.ดร.รักษ์จินดา วัฒนาลัย (มหาวิทยาลัยสยาม) อนุกรรมการ
18 รศ.ภญ.ดร.รัตนำ อินทรำนุปกรณ์ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ) อนุกรรมการ
19 อ.ภญ.ดร.ธนาทิพย์ ธรรมาเจริญสุข (มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย) อนุกรรมการ
20 อ.ภญ.ดร.อุไรวรรณ อกนิตย์ (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) อนุกรรมการ
21 อ.ภญ.ดร.สุนทรี วัชรดํารงกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) อนุกรรมการและเลขานุการ
ทั้งนี้ ให้มีบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของอนุกรรมการด้านเภสัชศาสตรศึกษา ดังนี้
1. จัดการความรู้ (Knowledge Management, KM) โดยการรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพ (อดีต ปัจจุบัน อนาคต) ของพัฒนาการด้านหลักสูตรเภสัซศาสตรบัณฑิต และการจัดการด้านเภสัชศาสตร์ศึกษาของประเทศไทยอย่างเป็นระบบและสามารถสืบค้นอ้างอิงได้เพื่อประโยชน์ของสาธารณะ
2. เสนอนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาการจัดการด้านเภสัชศาสตร์ศึกษาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทความต้องการของสังคมไทย
3. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลกำลังคน (workforce) ด้านเภสัชกรรมในภาคส่วนต่างๆ ของสังคมไทย เพื่อใช้เป็นแนวทางในการคาดการณ์ความต้องการเชิงปริมาณและคุณภาพ สำหรับการผลิตเภสัชศาสตรบัณฑิตอย่างเหมาะสมในอนาคต
4. ประสานงานกับสถาบันสมาชิกของ ศ.ศ.ภ.ท. หรือองค์กรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดกิจกรรมเภสัชศาสตร์ศึกษาสำหรับการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการการเรียนการสอนเป็นระยะ ตามความเหมาะสม
5. รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินการของอนุกรรมการฯ ให้ คณะกรรมการอำนวยการ ศ.ศ.ภ.ท. ทราบอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
6. หน้าที่อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เมื่อได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการอำนวยการ ศ.ศ.ภ.ท.